ที่ดินมีกี่ประเภทอะไรบ้างสรุปง่ายๆ โฉนดครุฑแดง ครุฑเขียว ครุฑดำ
1 ที่ดิน น.ส.4
จะมีสัญลักษณ์ตัวแทนของโฉนดที่ดิน เป็นครุฑสีแดง ซึ่งโฉนดที่ดินประเภทนี้ ผู้เป็นเจ้าของมี ก ร ร มสิทธิในที่ดิน สามารถซื้อขา ย โอนได้ทั้งหมด
2 น.ส.3 หรือ หนังสือรับรองการทำประโยชน์
2.1 ประเภท น.ส.3 และ น.ส.3 ข. จะมีสัญลักษณ์ตัวแทนของโฉนดที่ดิน เป็นครุฑสีดำ เรียกง่ายๆว่า “หนังสือรับรอง ก า ร ทำ ป ร ะ โ ย ช น์ ” เป็นที่ดินที่ไม่มีรูปถ่ายทางอาศ เป็นแค่เอกส า ร ไม่ใช่โฉนดที่ดิน โดยเอก ส า รจะถูกออกโดย นายอำเภอท้องที่ ใช้เป็นหนังสือรับรองแสดงถึงสิทธิ์ กา ร ครอบครอง แต่ไม่มี ก ร ร มสิทธิ
2.2 ประเภท น.ส.3 ก.จะมีสัญลักษณ์ตัวแทนของโฉนดที่ดิน เป็นครุฑสีเขียว เป็นที่ดินที่ถูกยกระดับขึ้นมาจาก น.ส 3 โดยจะมี กา ร ราง วัด มีภาพถ่ายทางอากาศ ที่สำคัญสามารถนำไป จำนอง ได้ และสามารถไปยื่นเรื่องเปลี่ยนเป็นโฉนดที่ดินได้ในอนาคต ซึ่งมีความแตกต่างชัดเจนกับ น.ส.3 และ น.ส.3 ข. แต่ก็สามารถถูกยึดสิทธิ์ การ ครอบครองได้ ในกรณีที่ปล่อยที่ดินไว้ ไม่ทำประโย ช น์
3 น.ส.2 หรือ ใบจองเป็นหนังสือแสดงสิทธิ กา ร ครอบครองช ั่วคราว โดยทางราช กา ร ออกให้ ไม่สามารถซื้อ- ข า ย -โอน จำ น อ ง ก็ไม่ได้ แต่สามารถส่งต่อโดย กา ร โอนทางมรดกตกทอดแก่ทาย าทและสิทธิจะหมดลงเมื่อ ที่ดินนี้ไม่ได้ทำ ประ โยช น์ ติดต่อกัน 3 ปี ทางราช การ จะทำ กา ร ยึดคืนได้
4 ภ.บ.ท. 5 หรือ เอกส า รสิทธิ์ที่ราช ก า ร ออกให้เป็นแบบยื่นภาษีบำรุงท้องที่ หรือเอกส า รรับรอง ก าร เ สี ย ภาษี ไม่ใช่เอกส า รสิทธิ ไม่สามารถซื้อ- ข า ย -โอน ยกเว้นตกทอดมรดก หากซื้อไปก็อาจจะ สู ญ ไปได้ ไม่สามารถนำไปอ้างในศาลได้ว่าเป็นเจ้าของที่ดินนั้น แบบนี้แหละที่โดน โ ก ง กันมาก สิทธิจะหมดลงเมื่อ ที่ดินไปทับซ้อนพื้นที่ห้ามครอบครอง
5 น.ค.3เป็นหนังสือแสดง การทำประโยชน์ ออกโดยนิคมสร้างตนเอง จัดที่ดินเพื่อ ก า ร ครองชีพ
6 ส.ท.ก.เป็นหนังสือสิทธิทำกินในเขตป่าไม้ซึ่งทางกรมป่าไม้เป็นผู้ออกให้มีสิทธิในการครอบครองเพื่อทำประโยชน์แต่ไม่มีก ร ร มสิทธิ ไม่สามารถซื้อขายโอนยกเว้นตกทอดมรดกสิทธิจะหมดลงเมื่อไม่ทำประโยช น์ ติดต่อกัน 2 ปี ทางราช การจะทำการ ยึดคืนได้
7 ส.ป.ก หรือ สำนักงานการ ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตร ก ร ร ม
จะมีสัญลักษณ์ตัวแทนของโฉนดที่ดิน เป็นครุฑสีน้ำเงิน สิทธิ์ครอบครองที่ดินเพื่อใช้ ประ โ ย ช น์ ทำเกษตรก ร ร ม ไม่สามารถซื้อ- ข า ย -โอน หากว่ารัฐบาลต้อง ก า ร ยึดที่ดินคืน ก็ไม่สามารถเรียกร้องสิทธิ์ใดๆได้เนื้อหารวบรวมจากข้อมูลหลายแหล่งด้วยกัน หากมีความผิดพลาดหรือตกหล่นประการใด โปรดขออ ภั ย มา ณ ที่นี้
ขอขอบคุณที่มา sangkomonline