4 แนวทางของการออมเงิน มีเงินใช้ มีเงินเก็บเป็นก้อน
ช่วงต้นเดือนเป็นช่วงที่หลายคนลั้นลามากๆเพราะเงิน เดือนพึ่งออก อารมณ์ประมาณว่าช่วงต้นเดือนเป็นฤดูจ่ายตังค์ ของบางอ ย่ างที่เล็งไว้ตั้งแต่เดือนที่แล้วยังซื้ อไม่ได้เพราะเงิน ห ม ดก็เก็บความรู้สึกอัดอั้นตันใจเอาไว้
พอเงิน เดือนออกปุ๊บก็จัดหนักทันทีพอความรู้สึกอัดอั้น มันเบาลงเพราะซื้อของที่ อ ย า กได้ไปหมดแล้ว ก็จะเกิดความรู้สึก ตื่ นเต้นเข้ามาแทนที่ เวลามองไปในกระเป๋าสต างค์
จ า กแบงก์พันเป็นปึกๆเหลืออีกทีไม่กี่ร้อยบาท รวมถึงบิลที่ใช้รูดบัตรเครดิตเข้ามาแทนที เงิน สดในกระเป๋า ส ม อ ง ก็จะคิดว่า เดือนนี้จะจ่ายแบบนี้เป็นเดือนสุด ท้ า ยและจะได้ออมเงินสักที
1 เราจงนำเงินออมมา ล ง ทุ น
เก็บ เงิน คือสิ่งที่ดีแต่จะดียิ่งขึ้น หากเรานำเ งินนั้น มาทำให้เกิดผลที่งอกเงยด้วยการนำไปลงทุนต่อ แต่มันก็ล้วนแล้วแต่มีความเสี่ ยงที่ต้องยอมรับนะ ฉะนั้นเราจึงควรศึกษารายละเอียดในการลงทุนให้ดี ก่อนที่จะทำอะไร เพื่อที่เราจะได้สามารถเลือกวิธีการลงทุนที่เ หมาะกับเราได้
2 ตั้งเป้า ห ม า ย สำหรับการออมเงิน ที่ชัดเจนขึ้น
ระบุเป้าหมายให้ชัดเจนไปเลยว่าจะเราจะเอาอะไร แล้วต้องใช้ เ งิ น เท่าไหร่ ต้องได้มันมาในระยะเวลาแค่ไหน จะได้ไม่ยืดเยื้อและอ้าง ผลัดวันประกันพรุ่งไปเรื่อยๆการออม คือ รายได้เมื่อหักรายจ่ายแล้วจะมีส่วนซึ่งเหลืออยู่ ส่วนของรายได้ที่เหลืออยู่ซึ่งไม่ได้ถูกใช้สอยออกไปนี้เรียกว่า เ งิ น ออม Incomes-Expenses=Savings
โดยทั่วไป การออม จะเกิดขึ้น ก็ต่อเมื่อบุคคลนั้นมีรายได้มากกว่าการจ่ายของเขา ทางที่จะเพิ่ม เ งิ น ออมให้แก่ บุคคล อาจทำได้โดย การพย าย ามหาทางเพิ่มรายได้ให้มากขึ้นด้วยการทำงานมากขึ้นใช้เวลาว่างในการหารายได้พิเศษ หรือการปรับปรุงงาน ที่ทำอยู่ให้มีประสิทธิภาพมีรายได้สูงขึ้น เป็นต้น นอกจากนั้น การลดรายจ่าย ลงด้วยการรู้จักใช้จ่าย เท่าที่จำเป็น และเหมาะสมก็จะทำให้มีการออมเกิดขึ้นได้เหมือน
3 เปลี่ยนทั ศ นคติ เรื่องการเก็บเงิน
การเก็บ เงิน ควรมาเป็นอันดับหนึ่ง ไม่ใช่สิ่งที่จะทำเป็นเรื่องสุดท้ายนะ พอ เงิน เราเหลือหลายคน มีทัศนคติ เกี่ยวกับการเก็บ เงิน ที่ผิ ดๆเช่นการใช้ เงิน ที่หามาได้ก่อนพอเงิน เหลือค่อยนำมาเก็บออมและหากไม่เหลือก็ไม่ต้องเก็บเลย ซึ่งเช่นนี้ เป็นความคิดที่ผิ ด มันจะทำให้เรากลายเป้นคน ไม่มีวินัยทางการเงิน และเป้าหมายในการออมเงิน ที่ตั้งไว้ก็ทำไม่สำเร็จสักที
4 เราจงแบ่ง สั ด ส่วน ของ เ งิ น
ทำบันทึก รายรับรายจ่าย เพื่อที่เราจะได้รู้ว่าเรามีร ายได้และรายจ่ายแค่ไหนกัน แล้วนำการจดบันทึกนั้น วิเคราะห์ว่าเราควรเก็บ เ งิ น เดือนละเท่าไหร่ มี เ งิ น สำหรับใช้จ่าย เท่าไหร่ เราจะได้รู้ และมันจะทำให้เราจัดการ เงิน ของเราได้ง่ายขึ้นหลายคนก็ฝันอย ากจะมีบ้าน มีรถ อย ากจะปลดหนี้ แต่ทำยังไง รายรับกับรายจ่ายก็มักจะสวนทางกันอยู่เสมอหรือเปล่าคะหรือรู้สึกว่าเงิน ที่เราใช้จ่ายในแต่ละเดือนนั้นไม่พอ จนต้องไปหยิบยืม เ งิ น จากคนอื่น ๆ หรือต้องดึง เ งิ น จากส่วนอื่น ๆ ที่เราตั้งใจจะเก็บสำรองเอาไว้หรือเปล่า
จริง ๆ แล้วการออม เงินเพื่อให้บรรลุเป้าหมายนั้นไม่ใช่เรื่องย าก ขอเพียงแค่เราต้องรู้จักประมาณค่าใช้จ่ายหรือบริหารจัดการใช้จ่ายเงินในแต่ละเดือนอย่ างเหมาะสมให้ลงตัวกับชีวิตของเรามากกว่ารับรองว่าในแต่ละเดือน คุณจะต้องใช้จ่ายอ ย่ า งเพียงพอแน่นอน
ขอขอบคุณที่มา san-sabai poobpub