แก้ดินเค็ม ผืนนาแห้งแล้ง ให้เป็นสวนผสมผสาน
สวัส ดี ค่ ะ วันนี้เรามีข้ อมูลดีๆมาฝากถึงเพื่อนๆ เพื่อเป็นแนวทางการดำรงชีวิตได้ไม่มากก็น้อย เท่าที่ทราบกันว่า พื้นที่นาข้าวภาคอีสานนั้นปลูกผลไม้ไม่ได้กิน เนื่องจากปัญหา ดินเค็ม และความแห้งแล้ง แต่วันนี้เรามีตัว อ ย่ า ง จากสวนลุงโหนกนานาพรรณของ ดร จตุพร เทียรมา อาจารย์ประจำคณะ สิ่ งแวดล้อมและทรัพย ากรศาสตร์ มหาวิทย าลัยมหา ส า รคาม ในตำบลเขวา อำเภอเมืองฯ จังหวัดมหา ส า รคาม ดร จตุพร เทียรมา อาจารย์ ประจำสา ข าวิชาการจัด การทรัพ ย า กรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพย ากรศาสตร์ มหาวิท ย า ลัยมหา ส า รคามอาจารย์จตุพรได้
นำค ว า มรู้เกี่ยวกับการ ทำห น้าที่และการให้บริการของระบบนิเวศมาผนวกเข้ากับระบบการ ทำเกษตรของตัวเองในพื้นที่ขนาด 8 ไร่ของสวนลุงโหนกนานาพรรณจึงเปรียบเสมือนห้องทดลองขนาดใหญ่ ซึ่งเน้นการจั ด อ ง ค์ประกอบของพื้นที่แปลงเกษตรทั้งด้านกายภาพและชีวภาพ เพื่อให้สอ ดคล้องกับ ก า ร ทำหน้าที่ของระบบนิเวศ ก่อเกิดเป็นสวนเกษตรที่ยั่งยืนในอนาคต
ขุดดสระน้ำขนาดความจุ 6,000 ลูกบาศก์เมตร ซึ่งได้จากคำนวณปริมาณการใ ช้น้ำทั้งปีและจำนวนพืชทั้งหมดที่ปลูกในแปลงเกษตร 8 ไร่ สวนแห่งนี้จึงมีน้ำใ ช้ทำเก ษตร อ ย่ า ง เพียงพอตลอ ดปีที่ดินแปลงนี้ผมซื้ อตอนอายุ 38 ปี ทยอยขุดสระน้ำ สร้างบ้านพัก ปรับพื้นที่ ปรับปรุงดิน ปลูกพืชผล ต่ า งๆ ทำมาได้ 7 ปีแล้ว และ ตั้งเป้าหมายว่าเมื่อผมอายุ 55 ปีระบบนิเวศในแปลงเกษตรนี้ต้องสมบูรณ์แบบ นั่นคือเกิดความสมดุล ซึ่งเราจะได้เห็นการเติ บ โ ตของต้นไม้ จุ ลิ น ท รี ย์ธรรมชาติ และพืชพรรณต่าง ๆ
ที่ปลูกไว้ ให้ธรรมชาติช่วยดูแลกันเอง เช่นเดียวกับระบบนิเวศของป่าระหว่างต้นของไม้ผลปลูกทั้งพืชบำรุงดิน เช่น พืชตระก ูลถั่ว พืชที่มีระบบรากลึก และพืชผักอาหารจากผืนนาจึงถูกปรับเปลี่ยนเป็นสวนผสมผสาน มีการวางแผนไว้ว่าพื้นที่ตรงไหนจะปลูกอะไร ตรงไหนจะเป็นนาข้าว ตรงไหนจะขุดสระน้ำ ตรงไหนจะปลูกไม้ผลหรือสร้างบ้านพัก
โดยเตรียมความพร้อมด้านพื้นที่ อ ย่ า ง ค่อยเป็นค่อยไป เพราะสภาพกายภาพของที่ดินแปลงนี้เป็นที่เนินดินที่นี่เป็นดินเค็ม ขุดสระลึกลงไปแค่ ส า มเมตรครึ่งก็เจ อน้ำเค็มผุดขึ้น มาแล้ว จำเป็นต้องใช้น้ำฝนในการทำเกษตร ดินเป็นดินเหนียวมากกว่าดินท ร า ย เมื่อขุดสระจึงสามารถกักเก็บน้ำได้ดีก่อนขุดสระผมศึกษาข้ อมูลน้ำฝนที่ตกในพื้นที่ย้อนหลัง 30 ปี พร้อมวางแผนดูสภาพพื้นที่ ใช้พื้นที่ต่ำสำหรับกักเก็บน้ำ
คำนวณการซึมของน้ำในดิน คำน วณปริมาณการใช้น้ำทั้งปีและจำนวนพืชพรรณที่ปลูกทั้งหมดในแปลงเกษตร 8 ไร่ เพื่อให้เกิดการหมุนเวียนธาตุอาหารในพื้นที่ ผ่ า น น้ำที่ เตรียมเอาไว้ให้มีปริมาณเพียงพอต่อ การทำเกษตรนอกจากนี้ยัง ทำร่ องน้ำไ ว้รอบพื้นที่ซึ่งไปเ ชื่ อมกับร่องระหว่างแถวที่ปลูกไม้ผล เจตนาในการทำร่องเพื่อใช้ผลิตอินทรียวัตถุต่างๆโดยปล่อยให้ผักตบชวาและจอกหู ห นู เจริญเติบโตแล้ว นำขึ้น มาทำ ปุ๋ ย พืชสด ขณะเดียวกันตะกอนอินทรียวัตถุที่อยู่ในร่องจะหนาขึ้นเรื่อย ๆ โดยตะกอนที่เกิดจากรากผักตบชวาที่ทับถมกัน มีธาตุอาหารที่พืชต้องการ
ทั้งไนโตรเจน แคลเซียม และโพแทสเซียมสูง ผมวางแผนไว้ว่าอีก 4-5 ปีจะลอ กร่องสวนแล้ว นำน้ำออ กเพื่อขย ายความกว้างของเนิน เรา ทำแ บบนี้เ พร า ะต้องการธาตุอาหารจากธรรมชาติที่หมุนเวียนกันในสวน เพื่อให้เกิดสมดุลในพื้นที่ สิ่งเหล่านี้ต้องวางแผนเป็นขั้นตอนนอกจากการสร้างระบบกักเก็บน้ำให้เพียงพอแล้ว ต้องปรับโครงสร้างดิน เพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุและจุ ลิ น ท รี ย์ในดิน เพื่อให้เหมาะและเพียงพอต่อ การปลูกพืชต่าง ๆ ด้วยผมไม่ได้ใช้ดินจากภายนอ กเลย
ดินที่นำมาถมเป็นดินที่ได้จากการขุดสระน้ำ ก่อนหน้านี้หน้าดิน มีคราบเกลือขาวเพราะเป็นดินเค็ม เหนียว และแน่นทึบมาก จึงทยอยปรับโครงสร้างของดินด้วยการปลูกพืชตระก ูลถั่วและพืชไร่ที่มีระบบรากลึก เช่น ข้าวโพด โดยไม่ได้สนใจว่าจะได้ฝักเยอะไหม เพราะต้องการให้รากข้าวโพดช่วยทะลุทะลวงดิน อีกทั้งต้นของมันยังเป็นอินทรียวัตถุปรับปรุงโครงสร้างทางกายภาพของดินด้วยการปรับปรุงดินบริเวณที่ปลูกไม้ผลผมทำจากโคนต้นออกมาทีละน้อยเ พร า ะไม่ต้องการลงทุนเยอะ โดยเริ่มจากการปลูกถั่วพร้า ปลูกเป็นวงออกมาเรื่อย ๆ
ซึ่งสังเกตพบว่าระบบรากของถั่วพร้าชอนไชดินจนเป็นรูพรุน ทำให้รากไม้ผลที่ปลูกไว้หยั่งลึกได้ดี นอ กจากนี้ยังให้ ปุ๋ ย พืชสดจากวั ช พื ช ผักตบชวา และ จอกหู ห นู ที่เจริญเติบโตในร่องสวน เอาขึ้น มากองทับถมกันบริเวณโคนต้น ใช้เวลาประมาณ 2 เดือนก็ย่อยสลายหมด ร่วมกับให้ข ี้วัว จากดินเค็มที่ทั้งเหนียวและแน่นทึบก็กลายเป็นพอใช้ได้แล้ว
ปุ๋ ย พืชสดจากผักตบชวาช่วยปรับ ส ภ า พ ดิ น
ใช้อินทรียวัตถุช่วยในการปรับโครงสร้างของดินจนดีขึ้นเรื่อย ๆหลังจากซื้ อที่ดิน อาจารย์จตุพรทำนาถึง 3 ปี ก่อนที่จะเป็นร่องสวนเพื่อวางแผนการจั ด ก า รแปลง และทดสอบว่าพืชชนิดใดปลูกได้ดี อะไรปลูกไม่ได้ โดยเฉพาะไม้ผลเพื่อเลือ กปลูกพืชให้เหมาะสม ส่วนการทำนาเหลือพื้นที่แค่ 2 ไร่สำหรับปลูกข้าวแค่พอ กินในครอบครัวปลูกข้าวหอมมะลิ 105 และหอมใบเตยสำหรับบริโภคในครอบครัว พร้อมๆกับ
การคัดเลือกพันธุ์เพื่อเก็บเมล็ดพันธุ์ ไ ว้ปลูกต่อผมเน้นปลูกไม้ผลเพราะมองว่ามันเป็นพืชที่สามารถดูแลตัวเองได้และเราไม่ต้องใช้แรงเยอะเมื่อถึงวันที่ต้องเกษียณ ในสวนจึงมีไม้ผลปลูกแซมตามแผนผังที่ออกแบบไว้ วางแผนแล้วว่าพื้นที่ตรงไหนจะปลูกอะไร โดยแบ่งการปลูกเป็นโซน ค่อย ๆ ปลูกปีละ 1-2 งาน ทยอยปลูกตามที่มีเวลาสำหรับส้มโอผมสั่งซื้ อ กิ่งพันธุ์ส้มโอทับทิมส ย า ม จาก ภ า ค ใ ต้มาทดสอบปลูกเมื่อ 6 ปีที่แล้ว
เพื่อ ดูว่าการเจริญเติบโตเป็น อ ย่ า ง ไร ให้ผลผลิตไหม พอปลูกปีที่ 3 ออ กผล ก็รอ ดูอีก 1 ปีว่าผลที่ได้มีคุณภาพหรือไม่ เมื่อได้ผลน่าพอใจและนึกหลายเหตุผลจึงเลือ กปลูกส้มโอทับทิมสย ามเป็นพืชไม้ผลหลักเพื่อสร้างร า ยได้ในอนาคต หลังจากเลือ กแล้วจึงทำระบบร่องสวน ยกร่องแปลงนาขึ้นเพื่อปลูกส้มโอ ค่อย ๆ ขย ายทำไปทีละน้อยเ พร า ะไม่ได้จ้างแรงงาน และใช้เวลาว่างจากงานประจำมาทำสวน ต้นส้มโอที่เห็นส่วนใหญ่จึงเพิ่งอายุ 2 ปี แต่ก็เจริญเติบโตได้ดี เ พร า ะน่าจะปรับตัวเข้ากับดิน น้ำ และสภาพแวดล้อมที่นี่ได้
ระหว่างปลูกมะม่วงก็ทดสอบปลูกไม้ผลเกือบทุกชนิดที่เหมาะกับดินเค็ม เช่น ส้มโอ ละมุด ขนุน ฝ รั่ ง มะขามป้อม เป็นต้น เพื่อจะได้รู้และเลือ กปลูกไม้ที่เข้ากับดินและสภาพแวดล้อมของเรา เมื่อมีข้ อมูลก็เลือ กว่าจะปลูกอะไรหลักการ ทำสวนเกษตรของผมคือไม่ใช้ ปุ๋ ย และ ส า รเคมี ใช้แค่ ปุ๋ ย คอ กและอินทรียวัตถุจากพืชในสวน ทยอยปรับปรุงดินไปเรื่อย ๆ พ ร้ อ ม เสริมโคนต้นเพื่อป้องกัน โ ร ค การควบคุมโ ร คเน้นใช้จุ ลิ น ท รี ย์ปฏิปักษ์ เช่น ใ ส่ เ ชื้ อราไตรโคเดอร์มาในช่วงต้นฝนและต้นหนาวเพื่อป้องกันโ ร คโคนเ น่ า เราไม่ได้ใช้เคมีจึงต้องดูแลเอาใจใส่มากหน่อย
บางต้นที่มีอาการ โ ร ค โคนเ น่ าเก่าแต่แก้ไขได้แล้วก็เอาปูนแดงมาทา ไม่เช่นนั้น มันจะมีน้ำย างไหลออกมาตามเปลือกโคนต้นการใส่ไตรโคเดอร์มาทำในช่วงเย็นโดยโรยรอบโคนต้น ต้นละ 1 ถุง จากนั้นโรยทับด้วยข ี้วัวบาง ๆ กลบด้วยผักตบชวาที่ย่อยสลายแล้ว แล้วรดน้ำตาม ในช่วงหน้าฝนต้องกลบให้ห่างโคนต้นเพื่อป้องกันดินบริเวณโคนต้นเพื่อรั ก ษ าความชื้น การจั ด ก า รแปลงแต่ละช่วงต้องพิจารณาจากสภาพแวดล้อมแล้วจั ด ก า รให้สมดุล
ต้นส้มโอทับทิม ส ย า ม อ า ยุ ประมาณ 2 ปี เริ่มให้ผล ผ ลิ ต
สำหรับการป้องกันกำจัดแ ม ล ง ใช้เมล็ดสะเดาสกัดด้วยแอลกอฮอล์ฉีดพ่นในช่วงต้นฤดูฝนเพราะพบการระ บ า ดในช่วงนั้น หรือฉีดพ่นเฉพาะจุดในช่วงที่ต้นเริ่มแตกยอ ดก็ได้ แ ม ล งศั ต รูจะไม่ต ายในทันที แต่จะค่อย ๆ ลดจำนวนลง ตั้งแต่ผมเริ่มปลูกส้มโอในพื้นที่นี้ไม่มีใครเ ชื่ อว่าจะปลูกได้ จนตอนนี้เริ่มเห็นผลแล้วว่าหากมีการวางแผนเตรียมพื้นที่ให้ดีเลือกพืชปลูกที่เหมาะสมกับสภาพดินและสิ่งแวดล้อม
ก็สามารถเห็นผลดีได้ ส่วนโ ร คโคนเ น่ าที่ยังพบนั่นแสดงว่าในดินของเรายังไม่สมดุลก็ต้องค่อยๆปรับกันไป แต่แนวโน้มเป็นไปด้วยดี เ พร า ะถือว่าเราพบโ ร คน้อยมากเมื่อเทียบกับการใช้ ส า รเคมี โ ร ย เ ชื้ อ ร าไตรโคเดอร์มาที่ข ย า ย เ ชื้ อเองบริเวณโคนต้นส้มโอเพื่อป้องกันโ ร คโคนเ น่ าการทำเกษตรของผมมองภาพในระยะ ย าว
เน้นให้เกิดความสมดุลในพื้นที่ ให้ธรรมชาติเกื้อ ก ูลกันและกันเพร า ะเป้าหมายคือสุดท้ายแล้วเราจะต้องไม่ ทำอะไรให้เหนื่อยหนัก ในแต่ละปีจะต้องทำงานให้น้อยลงเรื่อย ๆ ไม่ใช่ทำงานเท่าเดิมหรือมากขึ้น แต่ใช้การบริการของระบบนิเวศเข้ามาช่วย อ ย่ างไรก็ต าม เราไม่สามารถสร้างระบบนิเวศให้เกิดขึ้นได้ในทันที แต่ต้องใช้เวลาศึกษาแล้วค่อยๆ เรียนรู้ ค่อย ๆ ปรับปรุง ค่อย ๆ ปลูกพืชผักไม้ผล ฉะนั้นจึงต้องทำสิ่งเหล่านี้เตรียมไว้ตั้งแต่ในช่วงวัยที่ยังมีแรง เ พร า ะเมื่ออายุมากขึ้นหรือถึงวัยเกษียณแล้วอาจจะ ทำไม่ไหว
ขอขอบคุณที่มา readykids sangkomonline sabidee