Home ข่าวทั่วไป 10 วิธีแก้ปัญหา ลูกน้องไม่เคารพ ไม่เชื่อฟัง

10 วิธีแก้ปัญหา ลูกน้องไม่เคารพ ไม่เชื่อฟัง

10 วิธีแก้ปัญหา ลูกน้องไม่เคารพ ไม่เชื่อฟัง

10 วิธีแก้ปัญหา ลูกน้องไม่เคารพ ไม่เชื่อฟัง

ปัญหา อ ย่ า งหนึ่ง ที่ทำเอาเจ้านาย หรือหัวหน้างาน ป ว ด หัว ไปตามๆกันก็คือลูกน้องไม่เชื่อฟังหรือลูกน้องไม่เคารพ เพราะนอกจากจะทำให้การทำงานย ากขึ้นแล้วอาจจะมีปัญหาอื่นๆตามมาด้วย ใครกำลังเจอเหตุการณ์แบบนี้ตามไปดูสาเหตุ

และวิธีแก้ไขปัญหานี้กันครับทำไมลูกน้องไม่เคารพไม่เชื่อฟัง ปัญหาเรื่องลูกน้องไม่เคารพไม่เชื่อฟังหรือไม่เข้าใจหัวหน้า มาจากต้นตอ ปัญหาเรื่องของการสื่อ ส า ร ระหว่างทีม หากลูกน้องไม่พร้อม ที่จะพูดคุยแบบตรงไปตรงมาให้พิจารณาจากพฤติ ก ร ร  ม ของลูกน้อง

เช่น จากการใช้อารมณ์หรือจากคำพูดในการสื่อ ส า ร และดำเนินการแก้ไขตามความเป็นจริงปัญหานี้ถือว่าเป็นปัญหาโลกแตก ของทุกที่เพราะอ ย่ าว่า แต่ในโลกธุรกิจเลยในสังคมทั่วไป ก็มีปัญหาของคนรุ่นใหม่ และคนรุ่นเก่าที่ไม่เข้าใจกันอยู่เสมออยู่แล้ว

สิ่งที่ผมคิดว่าสำคัญกว่าในการแก้ปัญหาก็คือการดูเจตนาว่าการไม่เคารพ และไม่เชื่อฟังมาจากเจตนาในการต่อต้าน หรือเป็นแค่ผลเสียของการมีความคิดที่หลากหลายในองค์กรลองพิจารณาจากปัจจัยเหล่านี้ดูครับ

1 เอาความคิดตัวเองเป็นใหญ่-ไม่ว่าลูกน้อง จะเสนอไอเดียอะไรมาก็ไม่เคยรับฟัง กุมอำนาจไว้ที่ตัวเองคนเดียว ทำให้พวกเขารู้สึกว่ามีหน้าที่ทำตามคำสั่งเท่านั้น

2 ขาดความน่าเชื่อถือ-เช่นไม่ทำตามคำพูด ไม่ตรงต่อเวลาไม่มีความมั่นใจ บาง อ ย่ า ง อาจดูเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ก็มีส่วนทำให้ภาพลักษณ์ของหัวหน้า จาดความน่าเชื่อถือได้เช่นกัน

3 ขาดการปฏิสัมพันธ์ที่ดี-มีการติดต่อกันเฉพาะเรื่องงาน ขาดการสื่อ ส า ร ที่ดีทำให้บางครั้งเกิดความเข้าใจผิดกันหรือ

4 ใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผล-เมื่อลูกน้องทำพลาด ก็แสดงอาการโมโหหงุดหงิด รวมไปถึงใช้ถ้อยคำ รุ น แ ร งหรือหย าบคาย

5 ไม่ให้เกียรติซึ่งกันและกัน-เช่นตำหนิความผิดพลาด ต่อหน้าผู้อื่นไม่เคยฟังความคิดเห็นหรือไอเดียจากพวกเขา

6 ไม่เคยใส่ใจ เรื่องส่วนตัว-เพราะมุ่งแต่ทำงานให้สำเร็จเพียง อ ย่ า งเดียวแต่เคยสนใจหรือเอาใจใส่ความรู้สึกของผู้ร่วมงานคนอื่นเลย

7ไม่รู้จักจุดแข็ง-จุดอ่อนของคนในทีม: ทำให้ไม่สามารถดึงศักยภาพของแต่ละคนออกมาใช้ได้เต็มประสิทธิภาพหรือใช้คนไม่เหมาะสมกับงาน

8.ไม่เคยขอโทษหรือขอบคุณ-เช่นเมื่อสั่งงานผิดพลาด ก็ไม่เคยขอโทษซ้ำร้า ยอาจจะโยนความผิดนั้น ไปให้ลูกน้องรวมไปถึง ไม่เคยรู้สึกขอบคุณผู้ร่วมงานที่ช่วยกันทำให้งานสำเร็จ ลูกน้องไม่เคารพไม่เชื่อฟังจะแก้ อ ย่ า งไรดี

1 รั ก ษ า ระยะห่าง

สาเหตุก็คือ ระหว่างคุณกับลูกน้อง มีความสนิทสนม กันเกินไป เช่น รู้เรื่องส่วนตัวกันและกันไปสังสรรค์ด้วยกันบ่อยๆ หลังเลิกงาน หากเจอคนที่สามารถ แยกแยะระหว่างเวลาทำงานกับเวลาส่วนตัวได้ ก็ถือว่าโชคดีไป แต่ถ้าหากเป็นคนที่เห็นคุณเป็นเพื่อนเล่นตลอดเวลาควรเริ่มรั ก ษ าระยะห่าง กับเขาให้มากขึ้น ลดการพูดคุยเรื่องส่วนตัวให้น้อยลงหากมีโอกาสก็ลองคุยกันตรงๆน่าจะเข้าใจกันมากขึ้น

2 เข้าหาคนในทีมให้มากขึ้น

ในทางตรงกันข้าม หัวหน้าบางคน อาจจะมีระยะห่างกับลูกน้องมากเกินไปเช่น พูดคุยกันเฉพาะเรื่องงาน หรือหัวหน้าเป็นฝ่ายสั่ง ให้ทำตามอ ย่ างเดียวลองเข้าหาพวกเขาให้มากขึ้น โดยการชวนคุยเรื่องอื่น นอกเหนือจากเรื่องงานหรือแสดงความเอาใจใส่คนทำงาน เช่นลองชวนคุย เรื่องความสนใจความคิดเห็นต่างๆ ซึ่งจุดนี้อาจจะเกิดเป็นไอเดียใหม่ๆที่สามารถนำไปพัฒนางานได้อีกด้วย

3 มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น

ถือเป็นอีกหนึ่งสกิล ที่คนเป็นผู้นำ ควรมีในยุคนี้ เพราะคนทำงาน มีความรู้สึกนึกคิดบางวันอาจจะต้องจัดการงานเยอะ หรือเจอปัญหามากมายที่ทำให้เกิดความกดดัน หรือความเครียดและส่งผลให้ประสิทธิภาพการทำงานลดลง หรือมีความจำเป็น ที่จะต้องลาด้วยเหตุผลส่วนตัวควรถามไถ่เหตุผล ที่มาที่ไป ยื่นมือเข้าไปช่วย แก้ไขปัญหาแทนการจับผิดหรือดุด่าว่ากล่าว

4 ลดบทบาทความสำคัญ

หากเจอลูกน้องอีโก้สูง ไม่ค่อยเชื่อฟังคำสั่ง หรือสั่งงานไปแล้วไม่ค่อยทำตาม หลังจากนี้ค่อยๆลดบทบาทในทีมของเขาให้น้อยลง เช่น ไม่มอบหมายงานสำคัญๆหรือโปรเจกต์ใหญ่ๆ ให้ทำแต่ให้เขารับผิดชอบงานง่ายๆหรืองานเล็กงานน้อยให้เขาพอมีผลงานบ้าง

5 ไม่แทรกแซงงาน

หากมอบหมายงานให้ลูกน้องทำแล้ว ก็ควรไว้ใจให้พวกเขาได้รับผิดชอบและคุณก็คอยดู และอยู่ห่างๆไม่ก้าวก่ายหน้าที่กัน ระหว่างนี้อาจจะลองถามไถ่เป็นระยะเผื่อพวกเขากำลังมีปัญหา และต้องการความช่วยเหลือ

6 เปิดใจรับฟังความคิดเห็น

นอกจากนี้หัวหน้าควรเปิดใจ รับฟังฟีดแบ็ก ในการทำงาน ปัญหาหรือความคิดเห็นของพวกเขาไม่ยึดเอาความคิดตัวเองเป็นใหญ่ เพียงอ ย่ างเดียว และหากมีการพูดคุยกัน ควรปล่อยให้พวกเขาพูดให้จบก่อน ไม่ควรพูดแทรก หรือแย้งในทันที เพราะพวกเขาอาจจะมองว่าคุณปิดกั้นหรือไม่ยอมรับฟังได้ ที่สำคัญควรแสดงความเอาใจใส่หรือห่วงใยพวกเขา จากใจจริงไม่ว่า จะเป็นท่าทางการแสดงออกสีหน้าน้ำเสียงและคำพูด

7 ไม่ตัดสินคนอื่น

หลายครั้ง อาจจะพบว่าผู้ที่เป็นหัวหน้า มีการวิพากษ์วิจารณ์งานของลูกน้องอ ย่ าง รุ น แ ร ง และบางครั้ง อาจมีการใช้คำห ย า บ คาบนอกจากจะทำให้ลูกน้อง ไม่ฟังแล้วอาจจะทำให้ความสัมพันธ์ และบรรย ากาศการทำงานแย่ลงไปด้วยซึ่งอ ย่ าลืมว่าประสบการณ์การทำงาน มุมมองและความคิดของแต่ละคนนั้นแตกต่างกัน คงจะดีกว่าหากทำความรู้จัก ลักษณะนิสัยของคนในทีมและเข้าด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับแต่ละคน

8 ยอมรับความผิดพลาดบ้าง

ในฐานะที่เป็นหัวหน้า ก็ต้องการให้งานออกมาสมบูรณ์แบบ แต่ อ ย่ า ลืมว่ามีหลายปัจจัยที่เกินการควบคุม บางครั้งคนในทีม ก็มีการทำผิดพลาดกันบ้างการดุด่าหรือกล่าวโทษ คนรับผิดชอบ อาจทำให้มุมมองที่พวกเขามีต่อเราเปลี่ยนไป และฟังเราน้อยลงคงจะดีกว่าหากหลังจากช่วยกันแก้ไขปัญหาแล้ว ตัวหัวหน้าเองก็ควรกลับมาทบทวนด้วย เช่นกัน เช่นเราวางแผนงานมาดีหรือยังให้งานย ากเกินไปหรือเปล่า เวลาในการทำงานน้อยเกินไปหรือไม่พร้อมกับหาทางป้องกันไปด้วย

9 ปฏิบัติกับทุกคน อ ย่ า งเท่าเทียม

ไม่ว่าจะเป็นคนเก่าคนใหม่ หรือคนสนิท ในเวลางาน ก็ควรปฏิบัติกับทุกคน อ ย่ า ง เท่าเทียม และให้ความยุติธรรมกับทุกคนไม่ลำเอียงเข้าข้างใครคนใดคนหนึ่ง สามารถตักเตือน และสั่งได้ ทุกคนเหมือนกันที่สำคัญควรปฏิบัติแบบเดียวกันทั้งต่อหน้า และลับหลังไม่นำเรื่องส่วนตัวของลูกน้องไปพูดต่อ

10 ให้พวกเขาตัดสินใจงานเองบ้าง

ในฐานะหัวหน้า ไม่ควรกุมอำนาจทั้งหมดไว้คนเดียว ควรปล่อยให้ลูกน้องหรือคนในทีมมีอำนาจ ในการตัดสินใจงานเองบ้าง ไม่ว่าการตัดสินใจนั้นจะผิดหรือถูก แม้ว่าสุดท้ายแล้วจะเป็นการกระทำที่ผิดพลาดก็ควรให้กำลังใจและกันรับผิดชอบดีกว่าคอยคำสั่งคุณเพียงฝ่ายเดียว

ขอขอบคุณที่มา thaiwinner stand-smiling

Load More Related Articles
Load More By Sitsmiling-T
Load More In ข่าวทั่วไป

Check Also

เอากระดาษทิชชู่ม้วน วางทิ้งไว้ในตู้เย็น ผลที่ออกมาเกินคาด

เอากระดาษทิชชู่ม้วน วางทิ้งไว้ในตู้เย็น ผลที่ออกมาเกินคาด วิธีที่เรากำลังจะบอก นั่นก็คือแค…