4 ข้อ สำหรับคน อ ย า ก มีบ้านต้องเตรียมพร้อม ก่อนจะสร้างบ้านใหม่
ก่อนจะสร้างบ้านสักหนึ่งหลัง นอ กจากจะต้องเก็บเ งิ น เตรียมเรื่องก ู้แล้ว ยังต้องให้ความสำคัญกับเรื่องการ
ขออนุญาตก่อสร้างบ้าน ด้วย ซึ่งจริง ๆ แล้วขั้ น ต อ นนี้สามารถทำได้ไม่ยุ่งย าก ลองมาดูว่าการยื่นขออนุญาต
ก่อสร้างบ้าน มีขั้ น ต อ นอ ย่ างไร และต้องเตรียมเอกส า รอะไรบ้างได้ที่นี่
การยื่นขออนุญาตก่อสร้างบ้าน
1 ยื่นคำร้องขออนุญาตก่อสร้างบ้านที่สำนักงานเขตท้องถิ่นในพื้นที่นั้น ๆ เช่น สำนักงานเขตหรือ กรุงเทพมหานคร
สำนักงานเทศบาล สำนักงานเมืองพัทย า ฯลฯ ขึ้นอยู่กับแต่ละพื้นที่ของจังหวัดนั้น ๆ
2 สำนักงานเขตท้องถิ่นตรวจสอบแบบแปลน โดยเฉพาะในเขตที่ประกาศใช้กฎห ม า ยควบคุมการก่อสร้างอาคาร หรือ
กฎห ม า ยผังเมืองบ้านหรืออาคาร สิ่งปลูกสร้างทุกประเภทจะต้องได้รับอนุญาตก่อสร้างบ้านก่อน และจะต้องก่อสร้าง
ต ามแบบแปลนที่ได้รับอนุญาต
3 ได้รับหนังสืออนุญาตให้ก่อสร้าง กรณีที่ไม่ได้รับอนุญาต อาจจะมีการให้แก้ไขในบางร ายละเอียด ก็ต้องดำเนินการแก้ไข
และยื่นขออนุญาตอีกครั้ง
4 เมื่อได้ใบอนุญาตก่อสร้างมาแล้ว ควรทำสำเนาทั้งเก็บไว้ ที่ตัวเอง ให้สถาปนิก วิศวกร และผู้รับเหมา หรือบริษัท
รับสร้างบ้าน ดำเนินการก่อสร้างบ้านต่อไป
ห ม า ยเหตุ ในระหว่างก่อสร้าง หากมีเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหากับเพื่อนบ้าน ชุมชนใกล้เคียง เช่น เ สี ยงดังเกินเวลาที่
กฎห ม า ยกำหนด วัสดุก่อสร้างหล่น หรือมี อุ บั ติ เ ห ตุ จนได้รับการร้องเรียน หน่วยงานภาครัฐอาจมีคำสั่งให้หยุด
งานก่อสร้างชั่ วคร าว จนกว่าขั้ น ต อ นทางกฎห ม า ยจะแล้วเสร็จจึงจะมีคำสั่งว่า จะให้ก่อสร้างต่อ หรือให้หยุดก่อสร้างถาวร
หลักฐานยื่นขออนุญาตก่อสร้างบ้าน
1 กรอ กคำขออนุญาตก่อสร้างอาคาร ดัดแปลงอาคารหรือรื้อถอนอาคาร ข,1
2 เอก ส า รแปลนบ้าน แบบบ้าน และร า ยละเอียดการก่อสร้าง ที่ได้มาตรฐาน มีสถาปนิกและวิศวกรเป็นผู้เซ็น
รับรองแบบ กรณีที่ไม่มีสถาปนิก สามารถขอแบบบ้าน มาตรฐานจากสำนักงานเขตท้องถิ่นในจังหวัดนั้น ๆ ได้
3 หนังสือรับรองจากสถาปนิกผู้ออ กแบบบ้าน ผู้ควบคุมและเอก ส า ร จากวิศวกรงานก่อสร้าง
4 สำเนาโฉนดที่ดินที่จะก่อสร้าง หรือเอก ส า รสิทธิแสดงความเป็นเจ้าของที่ที่ดินผืนนั้น หรือ กรณีเช่าที่ดิน
ปลูกสร้างบ้าน จะต้องมีเอก ส า ร แสดงสิทธิที่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของด้วย
5 สำเนาบัตรประชาชน หรือทะเบียนบ้านเจ้าของอาคาร ในกรณีเป็นนิติบุคคลใช้หนังสือรับรองการจดทะเบียน
กรณีที่ไม่ได้ไปยื่นขออนุญาตก่อสร้างด้วยตัวเอง จะต้องมีหนังสือแสดงการมอบอำนาจให้กับผู้ที่เป็นตัวแทน
ในการยื่นขออนุญาตก่อสร้าง
ห ม า ยเหตุ จำนวนชุดของเอก ส า ร จะต้องสอบถามข้ อมูลอัพเดตจากสำนักงานเขตท้องถิ่นที่จะยื่นขออนุญาตก่อสร้างบ้าน
ทำไมต้องยื่นขออนุญาตก่อสร้างบ้าน
คำตอบก็คือ เพื่อความปลอ ดภั ยของผู้อยู่อาศัยเองและชุมชนรอบข้าง เพร าะกฎห ม า ยต่าง ๆ ที่ถูกกำหนดขึ้น
ก็เพื่อป้องกันอั น ต ร า ยจากสิ่งปลูกสร้างทุกรูปแบบ เช่น ความแข็งแรงของโครงสร้าง ระยะร่นจากถนน ระยะห่าง
จากชุมชนรอบข้าง ฯลฯ เพื่อไม่ให้สิ่งปลูกสร้างเกิดใหม่กระทบกับการอยู่อาศัยเดิมของชุมชนรอบข้าง ลองคิดภาพ
หากปล่อยให้ทุกคนสร้างสิ่งปลูกสร้างได้ต ามใจชอบ ไม่ต้องขออนุญาต จะเป็นเช่นไร
การขออนุญาตก่อสร้างมีหล า ยขั้ น ต อ น
บ้านจัดสรร VS บ้านสร้างเอง
การซื้ อบ้านในโครงการจัดสรร การขออนุญาตต่าง ๆ เป็นหน้าที่ของเจ้าของโครงการ หรือบริษัทพัฒนา
อสังหาริมท รั พ ย์ ซึ่งโครงการจัดสรรก็จะมีกฎระเบียบ ข้ อบังคับมากกว่าการก่อสร้างบ้านทั่วไปเพียง
ไม่กี่หลังผู้ที่ซื้ อบ้านในโครงการจัดสรร ไม่ต้องยุ่งย ากในขั้ น ต อ นสร้างบ้าน รวมถึงไม่ต้องยุ่งย ากทั้ง
เรื่องการขอใช้น้ำประปา ไฟฟ้า เลขที่บ้าน เตรียมเ งิ นให้พร้อม ก ู้ให้ ผ่ า น สร้างเสร็จก็เข้าอยู่ได้เลย
แต่ข้ อเ สี ย คือ รูปแบบบ้าน พื้นที่ใช้สอย อาจจะไม่ตรงกับความต้องการทั้งหมด
ขณะที่บ้านสร้างเอง มีข้ อ ดี เรื่องรูปแบบบ้าน พื้นที่ใช้สอย ฟังก์ชั่นบ้านที่กำหนดได้ต ามความต้องการมากกว่า
บ้านจัดสรร แต่ข้ อเ สี ยก็คือ อาจจะยุ่งย ากกับขั้ น ต อ นการขออนุญาตต่าง ๆ ตั้งแต่ขออนุญาตก่อสร้างไปจน
ถึงการขอน้ำไฟ และเลขที่บ้าน ซึ่งถ้าใช้ผู้รับเหมาทั่วไปในการก่อสร้าง ขั้ น ต อ นเหล่านี้ เจ้าของบ้านต้องเป็น
ผู้ดำเนินการเองทั้งหมด แต่ถ้าใช้บริษัทรับสร้างบ้าน ก็มีทั้งบริษัทที่จัดการให้หมดทุกขั้ น ต อ น เพร าะชาร์จ
ค่าดำเนินการต่าง ๆ เหล่านี้ไว้รวมกับร าค าค่าสร้างบ้านแล้ว กับบริษัทที่จัดการให้เฉพาะบางขั้ น ต อ น
การต่อเติมบ้าน กับการขออนุญาตก่อสร้าง
ไม่ใช่แค่เพียงการก่อสร้างบ้านใหม่เท่านั้นที่ต้องขออนุญาตก่อสร้าง แม้แต่การต่อเติมบ้านก็จำเป็นต้องยื่น
ขออนุญาตก่อสร้าง โดยการต่อเติมที่เข้าข่ายต้องขออนุญาต คือ การต่อเติมที่เกี่ยวกับโครงสร้างเกินกว่า 5 ต าร างเมตร
แต่ที่ ผ่ า น มาเจ้าของบ้านหล า ยร ายที่ต่อเติมบ้านเกินกว่าเกณฑ์ที่กฎห ม า ยกำหนดก็จะไม่ไปยื่นขออนุญาต
และคิดว่าไม่เป็นอะไร ซึ่งมักจะเป็นประเด็นที่ก่อให้เกิดการกระทบกระทั่งกับเพื่อนบ้านหรือชุมชนใกล้เคียง
กรณีที่การต่อเติมที่เกี่ยวกับโครงสร้างเกินกว่า 5 ต าร างเมตร ซึ่งต้องขออนุญาตก่อสร้าง ถ้าเจ้าของไม่ไป
ขออนุญาตให้ถูกต้อง หากเกิดปัญหาที่สร้างความเ สี ยห า ยให้กับชุมชน เพื่อนบ้านใกล้เคียง จะกล า ยเป็น
ความผิ ดร้ า ยแรง จึงแนะนำว่า ควรยื่นขออนุญาตให้ถูกต้องตั้งแต่แรก แต่ก็มีการต่อเติมบ้านบางประเภท ที่
ได้รับการยกเว้นไม่ต้องขออนุญาตต่อเติม หากดำเนินการทุกอ ย่ างถูกต้อง เตรียมเอก ส า รให้พร้อมเชื่อว่า
การขออนุญาตก่อสร้างบ้าน ไม่ได้ยุ่งย ากอ ย่ างที่คิด
ขอขอบคุณที่มา,sabidee