สอนลูกให้เชื่อฟัง ต้องทำยังไงให้ลูกคิดเป็น มีเหตุผล ไม่ต่อต้านพ่อแม่
ยิ่งลูกโตขึ้น การหวังลูกให้เป็น เ ด็ ก เชื่อฟังว่านอนสอนง่ายยิ่งกลายเป็นเรื่อง ย า ก เพราะลูกเริ่มมีความคิด และความต้องการเป็นของตัวเอง บางครั้งลูกสนใจ สิ่งที่อยู่ตรงหน้ามากกว่าหรือบางครั้งลูกก็ไม่ อ ย า ก คุย ไม่ อ ย า ก ทำในสิ่งที่พ่อแม่ต้องการจึงใช้วิธีทำหูทวนลม และเพิกเฉยต่อคำพูดของคุณพ่อคุณแม่และนั่นอาจจะทำให้คุณสติ แ ต ก ไ ด้
1 สอนให้ลูกใช้ความคิดแก้ปัญหาด้วยตัว เ อ ง
ประโยคคำสั่ง อ ย่ าไม่ห้ามทำให้ลูกรู้สึกว่าตัวเองไม่ได้เรื่องทำอะไรก็ไม่ดี โดนห้ามตลอดส่งผลต่อให้ลูกขาดความเชื่อมั่นในตัวเองกลายเป็นคนไม่มั่นใจ กลัวผิดและไม่กล้าที่จะคิดริเริ่มอะไรใหม่ๆ สิ่งที่ควรทำฝึกให้ลูกใช้ความคิดและแก้ปัญหาด้วยตัวเองยกตัว อ ย่ างเช่นไปเก็บของเล่นสิลูกเป็น ไหนลูกลองคิดสิว่าจะเอาตุ๊กตาตัวนี้ ไปเก็บไว้ไหนรถของเล่นนี้ล่ะ เอาไปไว้ไหนดีนอกจากนี้ควรหากิจกรร มสนุกๆทำร่วมกันกับลูก เมื่อคุณพ่อคุณแม่เห็นลูก ทำไม่ถูกต้องจะได้สอนลูกให้คิดแก้ปัญหา และสอดแทรกเรื่องของคุณธรรมจริยธรรมเข้าไปได้ ด้ ว ย
2 ฟังสิ่งที่ลูกต้องการจะ บ อ ก
บางครั้งสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่คิด ก็ไม่ได้ถูกต้องเสมอไปเพราะ เ ด็ กแต่ละคนมีความคิดเป็นของตัวเองสิ่งที่ควรทำ ถามให้รู้ว่า ลูกคิดอะไร ทำไปเพราะอะไรมีอะไรอยู่ในใจ และตั้งใจฟังสิ่งที่ลูกพูด เพื่อช่วยให้ลูกผ่อนคลายความกังวล และค่อยๆเปลี่ยนความคิดของลูกให้ถูกต้อง
3 ไม่ใช้อารมณ์หรือเพิกเฉยความต้องการของลูก
เ ด็ ก วัย 2-3 ขวบ ยังไม่สามารถฟัง และทำตามคำสั่งหลายอ ย่ า งในเวลาเดียวกันได้ จนทำให้พ่อแม่ใช้อารมณ์กับลูกหรือไม่สนใจลูกเลยสิ่งที่ควรทำ คอยจับสังเกตว่า ลูกต้องการสื่อ ส า รอะไรอาจใช้วิธีถามซ้ำๆ เพื่อยืนยันในสิ่งที่ลูกทำรวมถึงเมื่อต้องการให้ลูกทำอะไร พ่อแม่ควรพูดกับลูกให้ชัดเจนสั้นและกระชับใจความ
4 สอนด้วยการเป็นแบบ อ ย่ า งให้ลูกเห็น
เ ด็ ก วัย 3-6 ขวบมักจะลอกเลียนแบบ พฤติกรร มของคนใกล้ชิดโดยไม่สามารถ แยกแยะได้ ควรหรือไม่ควรเลียนแบบพฤติกร รมอะไร ทำให้หลายครั้ง ลูกเผลอลอกเลียนพฤติก รรมไม่ดีของผู้ใหญ่หรือคุณพ่อคุณแม่ เมื่อถูกตำหนิ และต่อว่าลูก จึงไม่เข้าใจว่าาทำไมคุณพ่อคุณแม่ยังทำได้เลยการทำให้ลูก เกิดความสงสัยโดยไม่ได้รับการอธิบาย บ่อยครั้งเป็นสาเหตุหนึ่ง ที่ทำให้ลูกเริ่มไม่อย ากที่จะเชื่อฟังพ่อแม่อีกต่อไป สิ่งที่ควรทำลูกเรียนรู้จากการกระทำได้ดีกว่าคำพูด ดังนั้นคุณพ่อคุณแม่ ต้องเป็นตัวอ ย่ า ง ให้ลูกเห็นมากกว่าการออกคำสั่ง ว่าลูกควรทำอะไร หรือห้ามว่าไม่ควรทำอะไร
5 สอนด้วยคำพูดน้ำเสียงและสายตาแห่งความรัก
เมื่อไรก็ตาม ที่ลูกทำผิดหรือไม่ทำตามสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่บอกคุณอาจจะอดไม่ได้ ที่จะตะคอกลูก ด้วยคำพูดแรงๆ และไม่สนใจฟังในสิ่งที่ลูกอย ากอธิบาย การขึ้นเสียงหรือตะคอกอาจทำให้ลูกสงบลงได้ก็จริง แต่ในอนาคตลูกก็จะทำผิดซ้ำอีกอยู่ดี สิ่งที่ควรทำเริ่มจากดึงความสนใจของลูก ด้วยการเรียกชื่อลูก’ใช้คำพูดง่ายๆ เพื่อให้ลูกทบทวน ในสิ่งที่ทำผิดและใช้น้ำเสียงที่หนักแน่น แต่ไม่ดุดัน เช่น ถ้าลูกกำลังกินขนมอยู่และมีเศษขนมตกพื้น แทนที่พ่อแม่จะดุที่ลูกทำขนมหก หล่นลงพื้น ลองเปลี่ยนเป็นบอกทางป้องกัน และแก้ปัญหาเช่นขนมที่หกลงพื้นแล้ว ลูกต้องเก็บไปทิ้งลงในถังขยะให้เรียบร้อยนะครับ และคุณแม่คิดว่าลูกควรเอาจานมารองเพื่อขนมจะได้ไม่หกลงพื้นต่อไปนอกจากคำพูดกับน้ำเสียงแล้ว ภาษากายก็มีส่วนสำคัญในการช่วยให้ลูกรับฟังมากขึ้น คุณพ่อคุณแม่ควรย่อตัวให้สูงเท่าลูกมองลูกด้วยสายตาแห่งรัก และตั้งใจฟังสิ่งที่ลูกพูด
6 สอนด้วยการมีข้อตกลงร่วมกัน
เ ด็ ก ทุกคนมีสิ่งที่ชอบ และไม่ชอบของตัวเองบ่อยครั้งที่คุณพ่อคุณแม่ ให้ลูกทำสิ่งที่ไม่ชอบนานจนลูกต่อต้านสิ่งที่ควรทำ เ ด็ ก วัย 2-3 ขวบเป็นวัยแห่งการต่อต้านการให้ข้อเสนอ เพื่อเป็นข้อตกลงร่วมกัน ลดการโต้เถียงหรือการชวนทะเลาะลงได้ เช่นถ้าลูกช่วยแม่เก็บเสื้อผ้าแม่จะเล่านิทานให้ฟังหรือให้ทางเลือกอื่น ที่ไม่ใช่การลงโทษเช่นถ้าไม่ทำแม่จะตีเป็นถ้าช่วยแม่พ่อกลับมาเราจะได้กินข้าวกันเร็วขึ้น
7 สอนด้วยการใช้เทคนิคที่เข้าใจง่าย
เ ด็ กอาจจะยังฟังประโยคย าวๆ หรือหลายคำสั่งพร้อมกันไม่เข้าใจ สิ่งที่ควรทำใช้เทคนิคสอนให้ลูกจำง่ายขึ้น ยกตัว อ ย่ า ง เช่น มีมือเอาไว้ช่วยเห ลื อ ไม่ใช่เพื่อเอาไว้ตีหรือพูดให้ตื่นเต้นเร้าใจเช่นวันนี้ทำอะไร ที่โรงเรียนบ้างเปลี่ยนเป็นเล่าให้ฟังหน่อยวันนี้ทำอะไรสนุกสุด และ หลีกเลี่ยงคำว่าไม่ ห รื อห้ามเพราะทำให้ลูกไม่อย ากทำตาม เช่นห้ามดื้อเปลี่ยนเป็นแม่ชอบลูกตอนที่เชื่อฟังแม่ที่สุดเลยนอกจากนี้คุณพ่อคุณแม่อาจเปลี่ยนมาใช้การให้คะแนนหรือสติ๊กเกอร์เพื่อให้ลูกมีเป้าหมายในการเชื่อฟังคุณมาก ขึ้ น
ขอขอบคุณที่มา boutmom stand-smiling