ค่าใช้จ่ายในการรังวัดที่ดิน รวมแบ่งแยกหรือสอบเขตที่ดิน และสิ่งที่ต้องรู้
วันนี้เรามาทำความรู้จักการขอรังวัดที่ดิน ว่าคืออะไร มีความหมายว่าอ ย่ างไร เพื่อคุณผู้อ่านที่จะไปทำธุระก ร ร มทางที่ดินที่สำนักงานเขตได้เตรียมตัวให้พร้อมถึงสิ่งที่จำเป็นอันควรทราบ ข้ อควรรู้ก่อนดำเนินการ หลักฐานประกอบการขอรังวัดที่ดินตลอ ดไปจนถึงค่าใช้จ่าย ค่าธรรมเนียมต่างๆในการดำเนินการ เพื่อประโยชน์ต่อคุณผู้อ่านเอง
เรื่องของการวัดขนาดของที่ดินที่ถูกต้อง จะต้องทำการตรวจสอบขอบเขตขนาดของที่ดินให้แม่นยำ ซึ่งต้องผ่ า น การทำรังวัดอ ย่ า งถูกต้องเ พื่อความชัดเจนในก ร ร มสิทธิ์ของที่ดินที่เราครอบครองอยู่ โดยจะมีค่าใช้จ่ายที่ควรรู้ในการยื่นเรื่องต่อสำนักงานที่ดิน
สิ่งที่เจ้าของที่ดินต้องรู้
1 ที่ดินดังกล่าวมีหลักฐานใดที่แสดงความเป็นเจ้าของ ให้นำไปยื่นคำขอรังวัดที่ดินได้
2 ที่อยู่ของที่ดินผืนนั้นๆว่าอยู่ที่บ้านเลขที่ หม ู่ตำบาล อำเภอ เขต และจังหวัดใด
3 เจ้าของที่ดินที่อยู่ข้างเคียง และที่ดิน มีส่วนที่ติดกับที่สาธารณประโยชน์หรือไม่
4 สภาพต ามจริงของที่ดินว่าเป็นลักษณะใด เช่น เป็นบ้านพักอาศัย ที่นา สวน ไร่
การยื่นคำขอรังวัดที่
ให้ยื่นเรื่องต่อสำนักงานที่ดินจังหวัด สำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา หรือสำนักงานที่ดินอำเภอ ของที่ๆตั้งอยู่ ต ามโฉนดที่ดิน ให้ทำการติดต่อสนักงานที่ดินจังหวัดหรือสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา ที่อยู่ในเขตของที่ดินของเราสำหรับหนังสื อ รั บ ร อ งการทำประโยชน์ ให้ทำการติดต่อที่สำนักงานที่ดินอำเภอที่ๆดินนั้นตั้งอยู่ ยกเว้นว่ามีการยกเลิกอำนาจของนายอำเภอ ให้ติดต่อสำนักงานที่ดินจังหวัดหรือสำนักงานที่ดินจังหวัดสาขา ของที่ดินของเราหลักฐานการยื่นเพื่อ ขอรังวัด ไม่ว่าจะเป็นการแบ่งที่ สอบเขต หรือหนังสือ การทำประโยชน์ บัตรประจำตัวประชาชน ทะเบียนบ้าน ทะเบียนสมรส หรือหากมีหลักฐานการเปลี่ยนชื่อหรือนามสกุล ถ้ามี โดยโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ หลักฐานการของรังวัดรวมโฉนดที่ดิน
โฉนดที่ดินจะมีลัษณะดังนี้
1 เป็นเอกส า รหนังสือสำคัญที่แสดงก ร ร มสิทธิ์ประเภทเดียวกัน แต่ยกเว้นเพียง โฉนดแผนที่กับโฉนดที่ดินให้รวมกันได้
2 จะต้องเป็นหนังสือที่แสดงชื่อผู้ถือ ก ร ร มสิทธิ์ที่ดินในโฉนดเหมือนกันทุกฉบับ และทุกคนต้องยังไม่ชีวิตอยู่ครบ
3 จะต้องเป็นที่ดินที่ติดต่อเป็นผืนเดียวกันและในจังหวัด กับสำนักงานที่ดิน ที่เดียวกะน
ขั้ น ต อ นการทำรังวัด สอบเขต รวม แยก ที่ดิน
1 เริ่มจาก รับบัตรคิวเพื่อทำเรื่องร้องขอ จากประชาสัมพันธ์
2 รับคำสอบสวนและชำระค่าธรรมเนียมในการยื่นคำขอ
3 ในส่วนของฝ่ายรังวัด ให้นัดวันดำเนินการ กำหนดช่างและทีมงาน กำหนดการและรายละเอียดในการวางมัดจำ
4 ติดต่อ ค้นหารายชื่อเจ้าของที่ดินที่อยู่ข้างเคียงและทำหนังสือแจ้งเรื่องให้หนังสือพิมพ์ทราบ
5 รับหนังสือ การแจ้งที่ดินข้างเคียง เริ่มกำหนดเงิน มัดจำรังวัด และ รับเขตหลักที่ดิน
6 ช่างรังวัดออ กไปถึงที่ดินนั้นๆ ต ามวันที่กำหนดไว้
7 เตรียมคำนวณเนื้อที่และเขียนรูปในแผนที่โฉนดที่ดินเอาไว้
8 ฝ่ายรังวัดจะทำการส่งเรื่องให้ฝ่ายทะเบียน จากนั้นจะเรียกผู้ขอทำการ มาจดทะเบียน
9 สอบสวนเรื่องการแบ่งแยกที่ดิน
10 ทำการตรวจอายัด
11 ให้ชำระค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนและการทำโฉนดใหม่
12 จัดการแก้รายการทะเบียนและจดทะเบียนเป็นที่แบ่งแยกแล้ว
13 ทำโฉนดที่ดินแบ่งแยก
14 ดำเนินเรื่องเสนอหนังสือให้ับเจ้าพนักงานที่ดินเพื่อลงนาม และใส่ตราประทับ โฉนดที่แบ่งออ กมา
ขั้ น ต อ นการแจ้งขอแบ่งแยกที่ดินพร้อมตรวจสอบเนื้อที่จริง และรวมหนังสือรับรองการทำประโยชน์
1 ให้เจ้าของที่มานำหนังสือ การทำประโยชน์รวมทั้งเอกส ารต่างๆที่เราใช้สำหรับการยื่นขอทำเรื่อง
2 ให้ถ้อยคำเพื่อทำการนัดรังวัด กำหนดวัน ค่าใช้จ่าย และกำหนดเจ้าหน้าที่ สถานที่นัดพบ
3 รับเจ้าหน้าที่ไปทำรังวัด ทำการวัดและปักหลัก จนเสร็จ
4 ลงนามในเอกส ารที่เกี่ยวข้ องต่างๆ
5 รอรับหนังสือที่จะติดต่อแจ้งกลับว่าสามารถไปดำเนินการจดทะเบียน
ค่าธรรมเนียมกับค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการทำหนังสือรับรองการทำรังวัด
1 ค่าธรรมเนียมการออ กหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยใช้การแบ่งด้วยลักษณะที่ดิน
เนื้อที่ไม่เกิน 20ไร่ แปลงละ 30 บ า ท เนื้อที่เกิน 20 ไร่ ส่วนที่เกินไร่ละ ส่วนเศษของไรให้คิดเหมารวมเป็นไร่ 2 บ า ท
2 ค่าธรรมเนียมการสอบสวนพิสูจน์และตรวจสอบเนื้อที่ เกี่ยวกับหนังสือรับรองการทำประโยชน์
รายแปลง แปลงละ 30 บ า ท รายวัน วันละ 30 บ า ท ค่าคัดหรือค่าทำการจำลองแผนที่ต่อแปลง แปลงละ 30 บ า ท ค่าธรรมเนียมการคำนวณเนื้อที่ หรือตรวจสอบ แปลงละ 30 บ า ท ค่าจับระยะ แปลงละ 10 บ า ท
3 ค่าธรรมเนียมการออ กโฉนดที่ดิน
ที่ดินเนื้อที่ไม่เกิน 20 ไร่ แปลงละ 50 บ า ท ที่ดินพื้นที่เกิน 20 ไร่ ส่วนที่เกินไร่ละ เศษของไข่ให้คิดเหมาเป็นไร่ละ 2 บ า ท
4 ค่ า ธ ร ร ม เ นี ย ม การทำรังวัดที่เกี่ยวเนื่องกับโฉนดที่ดิน
ห ากนับเป็นแปลง คิดแปลงละ 40 บ า ท ห ากนับเป็นรายวัน คิดวันละ 40 บ า ท ค่ าคัดหรือ การจำลองแผนที่ แปลงละ 30 บ า ท ค่าคำนวณหรือสอบแสแปลงละ 30 บ า ท ค่ า จั บ ระยะ แปลงละ 10 บ า ท
5 ค่ า ธ ร ร ม เ นี ย ม เบ็ดเตล็ด
ค่ าทำเรื่องคำขอ แปลงละ 5 บ า ท ค่ าการมอบอำนาจ เรื่องละ 20 บ า ท ค่าปิดประกาศ ให้กับผู้ปิดประกาศ แปลงละ 10 บ า ท ค่ าพ ย า น ให้แก่พย าน คนละ 10 บ า ท ค่าหลักเขต หลักละ 15 บ า ท
6 ค่าธรรมเนียมที่ใช้จ่ายเกี่ยวกับโฉนดที่ดิน หรือ การตรวจสอบเนื้อที่ของที่ดินที่เกี่ยวข้ องกับหนังสือรับรองการทำประโยชน์ค่าพาหนะ ค่าเดินทาง สำหรับเจ้าพนักงาน และคนงานที่ทำการจ้างไปทำรังวัด ซึ่งให้จ่ายในลักษณะเหมาต ามระเบียบจากกระทรวงมหา ดไ ท ย ซึ่งต้องได้รับความเห็นชอบจาก กระทรวงการคลังเ บี้ ย เ ลี้ ย งที่ให้แก่เจ้าพนักงาน เจ้าหน้าที่ และคนงานที่จ้างไปทำรังวัด กำหนดให้จ่ายในลักษณะเหมาจ่ายต ามระเบียบจากกระทรวงม หาดไ ท ย ซึ่งผ่ า นความเห็นชอบแล้วจากกระทรวงการคลัง ค่าป่ ว ย ก าร ให้แก่เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงานผู้ปกครองท้องที่ หรือผู้แทน ที่ไปร่วมในการทำรังวัน วันละ 50 บ า ท/คน
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ในการทำรังวัด โดยให้จ่ายในลักษณะการเหมาจ่ายต ามระเบียบกระทรวงม ห า ด ไท ย ด้วยความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง คิดเป็นเงิน เรื่องละ 100 บ า ท ทั้งนี้การคิดค่าใช้จ่ายในการรังวัดที่ดิน จะมีค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายที่ผู้ขอยื่นเรื่องต้องจ่ายหรือชำระต ามกฎหมายอ ย่ า งถูกต้อง กฎกระทรวงฉบับที่ 47 และ 48 ได้ออ กต ามความไว้ต ามความในพระราชบัญญัติ ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 ดังนี้
1 ค่าธรรมเนียมรังวัด
ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับโฉนดที่ดิน แปลงละ 40 บ า ท/วัน ค่าใช้จ่ายการทำหนังสือรับรองการทำประโยชน์ แปลงละ 30 บ า ท/วัน
2 ค่าธรรมเนียมการวางหลักเขตที่ดิน หลักละ 15 บ า ท
3 ค่าใช้จ่ายในการทำรังวัดในลักษณะเหมาจ่าย (ต ามประกาศจ.มุกดาหาร ลงวันที่ 23 ก.ค. 2542)
การรังวัดเกี่ยวกับโฉนดที่ดิน
เนื้อที่ไม่เกิน 5 ไร่ ใช้เวลาทำการ 1 วัน สามารถเรียกเก็บได้ไม่เกิน 1,950 บ า ท
เนื้อที่ไม่เกิน 15 ไร่ ใช้เวลาทำการ 2 วัน สามารถเรียกเก็บได้ไม่เกิน 3,750 บ า ท
เ นื้อที่ไม่เกิน 30 ไร่ ใช้เวลาทำการ 3 วัน สามารถเรียกเก็บได้ไม่เกิน 5,500 บ า ท
เนื้อที่ไม่เกิน 50 ไร่ ใช้เวลาทำการ 4 วัน สามารถเรียกเก็บได้ไม่เกิน 7,350 บ า ท
เ นื้อที่ไม่เกิน 100 ไร่ ใช้เวลาทำการ 5 วัน สามารถเรียกเก็บได้ไม่เกิน 9,150 บ า ท
เนื้อที่ไม่เกิน 150 ไร่ ใช้เวลาทำการ 6 วัน สามารถเรียกเก็บได้ไม่เกิน 10,950 บ า ท
เ นื้อที่ไม่เกิน 150 ไร่ ใช้เวลาทำการ 7 วัน สามารถเรียกเก็บได้ไม่เกิน 12,750 บ า ท
รังวัดที่เกี่ยวข้ องกับการออ กหนังสือรับรองการทำประโยชน์
เนื้อที่ไม่เกิน 20 ไร่ ใช้เวลาทำการ 1 วัน สามารถเรียกเก็บค่าใช้จ่ายได้ไม่เกิน 1,450 บ า ท
เ นื้อที่ไม่เกิน 50 ไร่ ใช้เวลาทำการ 2 วัน สามารถเรียกเก็บค่าใช้จ่ายได้ไม่เกิน 2,750 บ า ท
เนื้อที่ไม่เกิน 100 ไร่ ใช้เวลาทำการ 3 วัน สามารถเรียกเก็บค่าใช้จ่ายได้ไม่เกิน 4,050 บ า ท
เ นื้อที่ไม่เกิน 150 ไร่ ใช้เวลาทำการ 4 วัน สามารถเรียกเก็บค่าใช้จ่ายได้ไม่เกิน 5,350 บ า ท
เนื้อที่ไม่เกิน 150 ไร่ ใช้เวลาทำการ 5 วัน สามารถเรียกเก็บค่าใช้จ่ายได้ไม่เกิน 6,650 บ า ท
เพิ่มเติม
1 ใช้สำหรับพื้นที่โล่ง
2 หากพื้นที่ติดชุมชน หรือเป็น ที่ไร ที่นา มีแนวโค้งและอุปกสรรคเยอะ จะต้องแก้ไขต ามหลักวิชาการรังวัด และทำแผนที่ เช่น การวางหมุดหลักฐานโครงงานแผนที่สูญห า ย หากมีเนื้อที่จำกัดให้เพิ่มจำนวนวันในการทำรังวัดเพิ่มอีก 1 วัน
3 หากเป็นกรณีรังวัดออ กโฉนดที่ดิน และหากมีเหตุให้ต้องตั้งคณะก ร ร ม การตรวจสอบที่ดิน ต ามกฎกระทรวงฉบับที่ 43 พ.ศ.2537 จะต้องมีรายจ่ายเพิ่มในส่วนของค่าพาหนะ1 วันสำหรับการรังวัดและปักหลักเขต โดยคำนวณวันทำการ วันละ 12 แปลงหากเรามีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นในเรื่องของการยื่นเรื่องขอรังวัดที่ดินบ้าง จะทำให้สามารถดำเนินการได้อ ย่ า งรวดเร็วมากขึ้น
เพราะมีความเข้าใจในเรื่องหลักๆอยู่บ้าง ช่วยให้เราสะดวกมากยิ่งขึ้น การศึกษาข้ อมูลและทำการเตรียมหลักฐานประกอบการขอรังวัด หรือแบ่งแยก หรือจะเป็นการสอบเขตโฉนดที่ดิน หรือ หนังสือรับรองการทำประโยชน์ ให้พร้อมทีเดียวจะช่วยให้ได้ดำเนินการแล้วเสร็จไวยิ่งขึ้น
ขอขอบคุณที่มา krustory sabidee