6 เทคนิค ในการเคลียหนี้ที่มีให้หมด
1 ปรับ พ ฤ ติ ก ร ร ม สิ้นคิดบาง อ ย่ า ง ลง
ถ้าแม้คุณจะมีบัญชี รายรับรายจ่าย หรือคุณจะรู้และเข้าใจ
ความผิดพลาด ที่เกิดขึ้นในอดีต แต่ถ้าคุณยังไม่ยอมเปลี่ยน พ ฤ ติ ก ร ร ม
ตัวเอง มันก็แทบจะ ไม่มีประโยชน์อะไรเลยแล้ว คุณก็ไม่อาจหลุดพ้น
จากวังวนนั้นแน่นอน จำไว้ว่าการจะเปลี่ยนแปล งตัวเองได้
คุณต้องอาศัย ความอดทน และความตั้งใจ อ ย่ า ง มาก
2 สำรวจข้อผิดพลาดในอดีตของตัวเองว่าเกิดอะไรขึ้นกันแน่
ก่อนจะใช้หนี้ได้ คุณต้องเข้าใจ เสียก่อนว่า มันเกิดอะไรขึ้นกับคุณบ้าง
คุณจะได้เข้าไปแก้ไข อ ย่ า ง ตรงจุด ถ้าคุณไม่สำรวจ ความผิดพลาดในอดีต
เชื่อเถอะว่าใน ไม่ช้าวังวนเดิมๆ จะกลับมาหาคุณ อ ย่ า ง แน่นอน
3 บริหารเงินที่เหลือ จากการตัดรายจ่ายนั้น อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพ
จริงๆ แล้วมันไม่ใช่แค่ การบริหารเงินที่เหลือ จากการจัดการรายจ่าย
ที่ไม่จำเป็นนั้น อ ย่ า ง เดียว คุณควรจะวางแผนการ เงินตั้งแต่แรกด้วยซ้ำ
เงินที่ได้เพิ่มมานั้น คุณควรจะวางแผนดีๆ ว่าแต่ละส่วนคุณจะจัดการ อ ย่ า ง ไร
ส่วนไหนเก็บ ส่วนไหนกันไว้ใช้หนี้ คุณต้องแบ่งแต่ละส่วน ให้ชัดเจนครับ
4 พูดคุยให้ชัดเจนถึงเหตุผลที่เราต้องหยิบยืมเงินเพื่อน ยืมเงินญาติ
การจะขอความช่วยเหลือ จากใครสักคน สิ่งแรกคือคุณต้องชัดเจน
อ ย่ า อมพะนำไม่พูดความจริง คนที่จะช่วยเหลือ จึงจะทราบสถานการณ์
และความจำเป็น ของคุณโดยละเอียด และควรกำหนดเวลา ใช้คืนให้ชัดเจน
ว่าคุณพร้อมใช้คืนเมื่อไหร่ และที่สำคัญเมื่อได้รับ ความช่วยเหลือมาแล้ว
อ ย่ า ได้หายหน้าหายตาไป อ ย่ า ง เด็ดขาด แม้จะยังไม่ถึง กำหนดชำระก็จง
ติ ด ต่อกับเพื่อน เพื่อแสดงความจริงใจตลอดเวลา หากคุณยังติดขัดอะไร
อยู่จงบอกเหตุผล กับเพื่อนหรือญาติเสมอ การหายเข้ากลีบเมฆ
คุณกำลังทำลาย ตัวเองและความน่าเชื่อถือ ของตัวเอง อ ย่ า ง น่าอดสูที่สุด
5 ถ้าบริหารแล้วยังไม่พอก็ต้องหารายได้เพิ่ม
สำนวนที่ยังคงเป็นจริง เสมอคือประโยคที่ว่า หาให้มากกว่าใช้
ถ้าคุณบริหารทุก อ ย่ า ง แล้ว ยังไม่เป็นไปตามเป้า คุณก็ควรจะหารายได้
เพิ่มเติมครับสำรวจ ว่าคุณมีศักยภาพอะไร หรือถนัดอะไร และมันพอจะ
เอามาเป็นวิธีหา รายได้เพิ่มเติมได้ หรือไม่แล้วจงลงมือทำเสีย
เอาเวลาที่มานั่ง เครียดนั่งกุมขมับมาหา เงินเพิ่มดีกว่าครับ
6 ทำบัญชีค่าใช้จ่ายเพื่อเปรียบเทียบสมดุลของรายได้และรายจ่าย
จริงๆ สิ่งนี้เป็นหัวข้อ คลาสสิคที่สุดสำหรับ การสร้างวินัยทางการเงิน
เพราะมันจะบอกคุณเลยว่า ในแต่ละเดือนคุณ มีรายได้เข้ามาเท่าไร
และคุณเสียเงินไป กับเรื่องอะไรบ้าง คุณจะได้เข้าไปจัดการ กับรายจ่ายที่ไม่จำเป็นเหล่านั้น
ขอขอบคุณที่มา e y h a n g w a, aanplearn