Home ข้อคิดชีวิต คนมีรถควรรู้ไว้ ทำ พ.ร.บ. รถยนต์ทุกปี ได้การคุ้มครองอะไรบ้าง

คนมีรถควรรู้ไว้ ทำ พ.ร.บ. รถยนต์ทุกปี ได้การคุ้มครองอะไรบ้าง

คนมีรถควรรู้ไว้ ทำ พ.ร.บ. รถยนต์ทุกปี ได้การคุ้มครองอะไรบ้าง

คนมีรถควรรู้ไว้ ทำ พ.ร.บ. รถยนต์ทุกปี ได้การคุ้มครองอะไรบ้าง

สำหรับ พ.ร.บ.รถยนต์ หรือ การประกันรถยนต์ภาคบังคับ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครอง

ผู้ประสบ ภั ย จากรถ ที่เราเรียกติดปากก็คือ ประกัน ภั ย รถยนต์ภาคบังคับ Compulsory Third Party Insurance

ซึ่งมีการบังคับไว้ว่ารถยนต์ หรือ จักรย านยนต์ ทุกคันจะต้องทำประกันนี้ไว้ และทุกครั้งที่จะต้อง

เสียภาษีต่อทะเบียนรถ จะต้องซื้อ พ.ร.บ.ควบคู่ไปด้วย เพื่อคุ้มครองผู้ประสบ อุ บั ติ เ ห ตุ จากรถยนต์

และจักรย านยนต์ เป็นหลัก สำหรับการคุ้มครองนั้น จะครอบคลุมรายละเอียด ที่สามารถเบิกได้ ดังนี้

1 เป็นค่า  รั ก ษ า พ ย าบาลจากการ บ า ด เ จ็ บ จ่ายตามจริงได้สูงสุด ไม่เกิน 30,000 บาท/คน

2 การ เ สี ย ชี วิ ต หรือสูญเสี ย อวัยวะ หรือทุพพลภาพ อ ย่ า ง ถาวร จะชดเชย 35,000 บาท/คน

และถ้าหากเสียหาย จากข้อ 1 ข้อ 2 นั้นและจะต้องได้ ไม่เกิน 65,000 บาท/คน

ซึ่งที่กล่าวมา ข้างต้นทั้งหมดนี้ เป็uการจ่ายค่า สินไหมทดแทน โดยที่ผู้ค้ำประกันนั้น

จะได้รับภายหลังจากที่มี การพิสูจน์แล้วว่าผู้ประกันไม่ได้เป็นฝ่าย ผิดตามกฎหมายแต่ อ ย่ า ง ใด

สำหรับวงเงิน คุ้มครองรวมกับค่าเสียหาย เบื้องต้นกรณีเป็นฝ่ายถูก จะได้รับความคุ้มครองดังนี้

1 ค่า รั ก ษ า พ ย า บาลจากการ บ า ด เ จ็ บ นั้นจะ ได้สูงสุด ไม่เกิน 80,000 บาท/คน

2 หาก เ สี ย ชี วิ ต หรือ ทุ พ พ ล ภ า พ  อย่ า ง ถาวร 300,000 บาท/คน

3 หากสูญ เ สี ย อ วั ย ว ะ

3.1 หากมีการสูญเสีย นิ้วตั้งแต่ข้อนิ้วขึ้น ไปไม่ว่าจะเป็นนิ้วได้

หรือหลากหล า ยนิ้ว จะได้รับเงิน 200,000 บาท

3.2 หากมีการ สู ญ เ สี ย ตั้งแต่ข้อมือหรือแขน หรือเท้าหรือตั้งแต่ข้อเท้า

หรือขาวหรือ ต า บ อ ด อ ย่ า งใด อ ย่ า ง หนึ่งรวมกันเป็u 2 กรณีขึ้นไป จะได้รับเงิน 300,000 บาท

3.3 หากมีการ สู ญ เสี ย มือตั้งแต่ข้อมือ หรือแขน หรือเท้าตั้งแต่ข้อเท้า หรือขา

หรือสายตา หรือ หูหนวก เป็นใบ้ หรือเสียความสามารถ ในการพูดหรือลิ้น ข า ด

สู ญ เสี  ย อ วัย ว ะ สืบพันธุ์ หรือ อ วั ย  ว ะอื่นใด จะได้รับเงิน 250,000 บาท

4 สำหรับจำนวนเงิน คุ้มครองสูงสุดรวมกัน ต้องไม่เกิน 304,000 บาท

5 ค่าชดเชยการ รั ก ษ า ตัว กรณีผู้ป่วย ใน 200 บาท/วัน

แต่ไม่เกิน 20 วัน หรือไม่เกิน 4,000 บาท

6 วงเงินคุ้มครอง ความรับผิดสูงสุดต่อ อุ บั ติ เ ห ตุ แต่ละครั้ง

สำหรับรถยนต์ เกิน 7 ที่นั่ง 10,000,000 ต่อครั้ง

7 วงเงินคุ้มครอง ความรับผิดสูงสุด ต่อ อุ บั ติ เ ห ตุ แต่ละครั้ง

สำหรับ รถยนต์ไม่เกิu 7 ที่นั่ง 5,000,000 ต่อครั้ง

เอ ก ส า ร ที่จะต้อง เตรียมไว้ใช้ ในการเครม พ.ร.บ. มีดังนี้

1 ในกรณี บ า ด เ จ็ บ

สำเนา บัตรประช าชนผู้ประสบ อุ บั ติ เ ห ตุ

ใบเสร็จรับเงิน ต้นฉบับกรณีเบิก ค่าชดเชย หรือ ผู้ ป่ ว ย ใน

สำเนาบัตร ประชาชนผู้ประสบ อุ บั ติ เ ห ตุ

ใบรับรองแพทย์ หนังสือรับรองการ รั ก ษ า ตัวเป็นผู้ ป่ ว ย ใน

2 ในกรณี ทุ พ พ ล ภ า พ

สำเนาบัตรประชาชนผู้ประสบ อุ บั ติ เ ห ตุ

ใบรับรองแพทย์ และหนังสือรับรอง ความ พิ ก า ร

สำเนาบันทึก ประจำวันของพนักงานสอบสวน หรือ หลักฐานอื่u

ที่แสดงว่าผู้นั้นได้รับความ เสี ย ห า ย จากการประสบ ภั ย จากรถ

3 ในกรณี เ สี ย ชี วิ ต

สำเนาบัตร ประชาชนผู้ประสบ อุ บั ติ เหตุ

ใบ ม ร ณ ะ บัตร

สำเนาบัตรประชาชนทาย าทสำเนา ทะเบียนบ้าน

สำเนาบันทึกประจำวัน ในคดีของพนักงานสอบสวน หรือหลักฐาน

อื่นที่แสดงว่าผู้นั้น เ สี ย ชี วิ ต จากการประสบ ภั ย จากรถ

เมื่อเตรียมเอก ส า ร เรียบร้อยแล้ว สามารถทำเรื่องขอเบิกเงิน จากบริษัท

ประกัน ภั ย รถยนต์ที่เราซื้อพ.ร.บ.มา ซึ่งสามารถดูได้ที่กรมธรรม์ และ บริษัท

กลางคุ้มครอง ผู้ประสบ ภั ย จากรถ จำกัด ได้ทุกสาขาทั่วประเทศ

สำหรับรถจักรย านยนต์ ซึ่งจะมีการเบิกจ่ายเงินภายใน 7 วัน โดยพ.ร.บ.

จะคุ้มครองผู้เสียหา ยในส่วนของคนเท่านั้น ส่วนทรัพย์สิน หรือ ตัวรถจะไม่ได้รับการคุ้มครอง

ฉะนั้น ผู้ขับขี่รถยนต์ ควรจะทำประกัน ภั ย รถยนต์ภาคสมัครใจ หรือที่เราเรียกว่า

ประกันรถยนต์ ไม่ว่าจะเป็นชั้น 1 ชั้น 2 หรือชั้น 3 ก็ควรทำไว้เช่นกัน เพื่อประกัน

ความเสี่ยงจาก อุ บั ติ เ ห ตุ ที่จะเกิดขึ้น ซึ่งการทำประกันรถยนต์ ก็จะเป็นการป้องกัน

และลดความเสี่ ย งเรื่องค่าใช้จ่ายในการซ่อมรถ หๅกเกิด อุ บั ติ เ ห ตุ เกิดขึ้น

เกล็ดความรู้ รู้หรือไม่ว่า พ.ร.บ. รถยนต์ เป็นการประกันภั ยรถยนต์ภาคบังคับ

ซึ่งกฏหมายบังคับ ให้รถทุกคัuต้องทำประกัน พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภั ยจากรถ

หากรถยนต์ของเราไม่มี พ.ร.บ. มีความผิดตามกฏหมาย โดยมีบทลงโทษ ปรับสูงสุดไม่เกิน 10,000 บาท

ขอขอบคุณที่มา bitcoretech, poobpub

Load More Related Articles
Load More By sitsmiling-B
Load More In ข้อคิดชีวิต

Check Also

วิธีการทำความสะอาดเครื่องซักผ้าทำเองได้ง่ายๆ

วิธีการทำความสะอาดเครื่องซักผ้าทำเองได้ง่ายๆ เครื่องใช้ไฟฟ้า กับเครื่องซักผ้าที่ในทุกๆบ้ า…